วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
- ครูจะต้องทราบว่าเด็กของเราเรียนรู้
- เชื่อว่าเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
- เด็กจะเรียนได้ดีที่สุด ถ้าเราสอนแบบ Whoe Language คือ
. สอนอย่างเป็นธรรมชาติ
. สอนอย่างมีความหมายต่อเด็ก เช่น เริ่มจากคำศัพท์ที่เด็กรู้จัก คุ้นเคย
. สอนให้เด็กสามารถนำ
- เด็กจะเรียนรู้ได้ดีทีสุดมาจากการตัดสินใจ นั่นหมายถึงพร้อมที่จะรับรู้ในสิ่งที่เด็กอยากรู้ ครูจะต้องทำอย่างไรให้เด็กอยากจะเรียนซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด
- ไม่ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองกำลังถูกแข่งขัน
- ครูต้องสอนทักษะไปพร้อมๆกันและเกี่ยวข้องกัน เพราะดีที่สุกคือการสอนบนพื้นฐานของธรรมชาติ
- ครูจะต้องทำให้เรียนภาษาของเด็กเป็นสิ่งที่น่าสนใจสนุกสนาน เช่น สื่อ เทคนิคการสอน วิธีการสอน เป็นต้น

ควรสอนภาษาเด็กอย่างไร
- เริ่ม
- การประเมินโดยการสังเกต ควรที่จะมีแบบสังเกต
. สามารถจำเนื้อเรื่อง
. สามารถเข้าใจความหมาย บอกซ้ำ เล่าได้
- เสนอความคิดต่อผู้ปกครอง
- ทำอย่างไรพ่อแม่จึงจะเข้าใจวิธีที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ของลูกได้
- ส่งเสริมให้เด้กเรียนอย่างกระตือรือร้น- สร้างความรู้สึกประสบความสำเร็จ ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ
- อ่านให้เด็กฟังจากหลายๆแหล่งเช่น นิทาน บทความ รายการอาหาร- จัดประสบการณ์อ่าน และส่งเสริลงมือกระทำ
- ส่งเสริมให้เด็กกล้าลองผิด ถูก- พัฒนาทางด้านจิตพิสัย และให้เด็กรู้สึกรักในภาษา

ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการพูด
- อธิบายถึงภาพที่เห็น
- ทำท่าประกอบการพูด
- ล่านิทาน
- ลำดับเรื่องตามนิทาน
- เรียกชื่อตามนิทาน คือ ตัวละคร
- เรียกชื่อและอธิบายสิ่งของ- จำและอธิบายสิ่งของ
- อธิบายขนาดและสี

ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และเขียน
- พ่อแม่ให้เด็กสังเกต- ชักชวนลูกให้อ่านเครื่องหมายจราจร
- ชักชวนให้ลุกอ่านหนังสือพิมพ์
- ชักชวนให้เขียนคำอธิบายภาพของครอบครัวและบันทึกคำพูดของลูก
- เขียนส่วนผสมอานหารและลองปรุง
- ให้เด็กรู้จักการเขียน เช่น เขียนโน้ต
- ให้ลูกมีส่วนร่วมในการอ่านจดหมาย
- จดรายการส่งของ

การฟัง
- ฟังประกอบหุ่น
- ฟังและแยกเสยง
- ฟังเยงคำคล้องจอง
- ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารย์
- ฟังแล้วทำตามคำสั่ง

ขั้นตอนการอ่านและการเขียน
ขั้นที่1
- คาดเดาภาษาหนังสือ
- แก้ไขความผิดพลาดของความหมายด้วยตนเอง
- พยายามใช้ประสบกาณณ์จากการพุดกลับมาเป็นภาษาที่ใช้อ่าน
ขั้นที่2
- แก้ไขข้อผิดพลาดในประโยคด้วยตนเอง
- ตระหนักว่าตัวหนังสือมีความคงที่
- สามารถชี้บอกคำที่เหมือนกันกันซึ่งอยู่ในหน้าเดียวกัน
- สามารถมองตามตัวอัการบนแผ่นกระดาขนาดใหญ่ได้
ขั้นที่3
- จำคำที่คุ้นเคย
- คาดคะเนความหมายจากบริบท
-ใช้วิการอ่านไปในทิศทางเดียวกันจนเป็นนิสัย
-สามารระบุบอกชื่อตัวอักษรได้เกือบหมด
ขั้นที่4
- เข้าใจเกี่ยวกับ "การเริ่มต้น" และการลงท้าย เมื่อนำมาใช้ในการเดา
-ใช้เสียงช่วงต้นของคำในการเดาคำใหม่ เช่น ก กก ก กระดาษ ก กระดาน
-ใช้คำที่รู้มาแต่งประโยช์
ขั้นที่5
-ใช้เสียนงเริ่มต้นและเสียงควบกล้ำ-สามารรู้ได้ว่าคำประบด้วยตัวอะไรบ้าง

การเขียน

ขั้นที่ 1
-ขีดเขี่ย
ขั้นที่2
- เส้นเริ่มยาว
ขั้นที่3
- เขียนเป็นรูปร่างแต่ไม่เป็นตัวอักษร
ขั้นที่4
- เขียนตัวอักษรและสัญลักษณ์
ขั้นที่5
- เขียนตัวสะกด

ไม่มีความคิดเห็น: