วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
- ครูจะต้องทราบว่าเด็กของเราเรียนรู้
- เชื่อว่าเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
- เด็กจะเรียนได้ดีที่สุด ถ้าเราสอนแบบ Whoe Language คือ
. สอนอย่างเป็นธรรมชาติ
. สอนอย่างมีความหมายต่อเด็ก เช่น เริ่มจากคำศัพท์ที่เด็กรู้จัก คุ้นเคย
. สอนให้เด็กสามารถนำ
- เด็กจะเรียนรู้ได้ดีทีสุดมาจากการตัดสินใจ นั่นหมายถึงพร้อมที่จะรับรู้ในสิ่งที่เด็กอยากรู้ ครูจะต้องทำอย่างไรให้เด็กอยากจะเรียนซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด
- ไม่ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองกำลังถูกแข่งขัน
- ครูต้องสอนทักษะไปพร้อมๆกันและเกี่ยวข้องกัน เพราะดีที่สุกคือการสอนบนพื้นฐานของธรรมชาติ
- ครูจะต้องทำให้เรียนภาษาของเด็กเป็นสิ่งที่น่าสนใจสนุกสนาน เช่น สื่อ เทคนิคการสอน วิธีการสอน เป็นต้น

ควรสอนภาษาเด็กอย่างไร
- เริ่ม
- การประเมินโดยการสังเกต ควรที่จะมีแบบสังเกต
. สามารถจำเนื้อเรื่อง
. สามารถเข้าใจความหมาย บอกซ้ำ เล่าได้
- เสนอความคิดต่อผู้ปกครอง
- ทำอย่างไรพ่อแม่จึงจะเข้าใจวิธีที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ของลูกได้
- ส่งเสริมให้เด้กเรียนอย่างกระตือรือร้น- สร้างความรู้สึกประสบความสำเร็จ ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ
- อ่านให้เด็กฟังจากหลายๆแหล่งเช่น นิทาน บทความ รายการอาหาร- จัดประสบการณ์อ่าน และส่งเสริลงมือกระทำ
- ส่งเสริมให้เด็กกล้าลองผิด ถูก- พัฒนาทางด้านจิตพิสัย และให้เด็กรู้สึกรักในภาษา

ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการพูด
- อธิบายถึงภาพที่เห็น
- ทำท่าประกอบการพูด
- ล่านิทาน
- ลำดับเรื่องตามนิทาน
- เรียกชื่อตามนิทาน คือ ตัวละคร
- เรียกชื่อและอธิบายสิ่งของ- จำและอธิบายสิ่งของ
- อธิบายขนาดและสี

ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และเขียน
- พ่อแม่ให้เด็กสังเกต- ชักชวนลูกให้อ่านเครื่องหมายจราจร
- ชักชวนให้ลุกอ่านหนังสือพิมพ์
- ชักชวนให้เขียนคำอธิบายภาพของครอบครัวและบันทึกคำพูดของลูก
- เขียนส่วนผสมอานหารและลองปรุง
- ให้เด็กรู้จักการเขียน เช่น เขียนโน้ต
- ให้ลูกมีส่วนร่วมในการอ่านจดหมาย
- จดรายการส่งของ

การฟัง
- ฟังประกอบหุ่น
- ฟังและแยกเสยง
- ฟังเยงคำคล้องจอง
- ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารย์
- ฟังแล้วทำตามคำสั่ง

ขั้นตอนการอ่านและการเขียน
ขั้นที่1
- คาดเดาภาษาหนังสือ
- แก้ไขความผิดพลาดของความหมายด้วยตนเอง
- พยายามใช้ประสบกาณณ์จากการพุดกลับมาเป็นภาษาที่ใช้อ่าน
ขั้นที่2
- แก้ไขข้อผิดพลาดในประโยคด้วยตนเอง
- ตระหนักว่าตัวหนังสือมีความคงที่
- สามารถชี้บอกคำที่เหมือนกันกันซึ่งอยู่ในหน้าเดียวกัน
- สามารถมองตามตัวอัการบนแผ่นกระดาขนาดใหญ่ได้
ขั้นที่3
- จำคำที่คุ้นเคย
- คาดคะเนความหมายจากบริบท
-ใช้วิการอ่านไปในทิศทางเดียวกันจนเป็นนิสัย
-สามารระบุบอกชื่อตัวอักษรได้เกือบหมด
ขั้นที่4
- เข้าใจเกี่ยวกับ "การเริ่มต้น" และการลงท้าย เมื่อนำมาใช้ในการเดา
-ใช้เสียงช่วงต้นของคำในการเดาคำใหม่ เช่น ก กก ก กระดาษ ก กระดาน
-ใช้คำที่รู้มาแต่งประโยช์
ขั้นที่5
-ใช้เสียนงเริ่มต้นและเสียงควบกล้ำ-สามารรู้ได้ว่าคำประบด้วยตัวอะไรบ้าง

การเขียน

ขั้นที่ 1
-ขีดเขี่ย
ขั้นที่2
- เส้นเริ่มยาว
ขั้นที่3
- เขียนเป็นรูปร่างแต่ไม่เป็นตัวอักษร
ขั้นที่4
- เขียนตัวอักษรและสัญลักษณ์
ขั้นที่5
- เขียนตัวสะกด

วันอังคารที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552

อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับเกมการศึกษาว่ามีอะไรบ้าง
1. โดมิโน
2. จิกชอร์
3. เรียงลำดับภาพ
4. จับคู่ภาพ
5. การจับภาพอนุกรม
6. หน่วยที่เราสอน
7. พื้นฐานการบวก
8. รอสโต้
และอาจารย์ก็นัดเล่านิทานหุ่น

วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

บันทึกการเข้าเรียน วันที่ 21 มกราคม พ.ศ.2552

กลุ่มของดิฉันได้หัวข้อเกี่ยวกับ "การอ่านและการเขียน"

และมีการแยกหัวข้อออกมาอีกคือ
1. ฟังประกอบหุ่น
2. ฟังและแยกเสียง
3.ฟังเสียงคำคล้องจอง
4.ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารย์
5.ฟังแล้วทำตามคำสั่ง

กลุ่มดิฉันนำเสนอ
หัวข้อแรกโดยการเชิดหุ่นและเล่านิทานไปด้วย
หัวข้อที่สอง ทำเสียงเหมือนเสียงสัตว์ เช่น แมว สุนัข
หัวข้อที่สาม อ่านคำคล้องจองให้เพื่อนฟัง

เลื่อยไม้ใสกบ
เลื่อยไม้ เลื่อยไม้ใสกบ นับไม้ให้ครบจะไปสร้างบ้าน
ไหนตะปู ไหนค้อน เอามาตอกโป๊ง โป๊ง
อากาศปลอดโปร่ง ช่างแสนสำราย
สร้างบ้านน้อย น้อย ให้น้องข้าอยู่
เชิญคุณย่า เชิญคุณปู มาพักนาน นาน
ฝนตกพรำ พรำ
ฝนตกพรำ พรำ แม่ดำกางร่ม
แกเดินก้มก้ม อยู่ข้างกำแพง
พอเดี๋ยวแดดออก ไปบอกแม่แดง
ฉันไม่มีแรง หุบร่มให้ที่

หัวขอ้ที่สี่ ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารณ์
ยกตัวอย่าง เช่น การอธิบายปกนิทานให้เด็กรู้ก่อนว่าชื่อเรื่องว่าอย่างไร
หัวข้อที่ห้า ฟังแล้วทำตามคำสั่ง

เราได้ความรู้จากการที่เพื่อนๆมานำเสนอและได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ในอนาคต